ผศ.ดร.เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี


ผศ.ดร.เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี
ชื่อ เฉลิมเกียรติ
นามสกุล วงศ์วนิชทวี
ที่อยู่
สถานที่ทำงาน ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
38 ถ.เพชรเกษม แขวงบางหว้า เขตภาษีเจริญ กรุงเทพ ฯ 10160
โทร. 0-2457-0068 ต่อ 5128
E-mail : Pommy90@hotmail.com
ตำแหน่ง รองหัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมโยธา

รายวิชา

  1. การบริหารงานก่อสร้าง (Construction Management)
  2. การจัดการทางวิศวกรรม (Engineering Management)
  3. คอมพิวเตอร์สำหรับวิศวกรโยธา (Computer for Civil Engineering)
  4. เทคนิคและเครื่องมือก่อสร้าง (Construction Techniques)
  5. เทคโนโลยีคอนกรีต (Concrete Technology)
  6. วิธีการทางปริมาณสำหรับวิศวกรรมการบริหาร (Quantitative Techniques)
  7. ปฏิบัติการชลศาสตร์ (Hydraulics Laboratory)
  8. ปฏิบัติการทดสอบวัสดุ (Material Laboratory)
  9. ปฏิบัติการทดสอบวัสดุแอสฟัสท์ (Asphalt Laboratory)
  10. วิศวกรรมธรณีวิทยา (Engineering Geology)

ประสบการณ์ทำงานสายอาชีพด้านวิศวกรรมโยธา
พ.ศ.2535-2539
บริษัท บุญวนิชวิศวกรรม จำกัด
ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมระดับสามัญวิศวกรโยธา (สย.) แห่งสภาวิศวกร
วิศวกรสนาม/ วิศวกรโครงการ/ วิศวกรผู้ประสานงาน/ วิศวกรที่ปรึกษาโครงการก่อสร้างอาคารสำนักงาน อาคารชุด อาคารพาณิชย์ โรงงานอุตสาหกรรมสะพาน เขื่อน และกำแพงกันดิน เป็นต้น

วิศวกรร่วมวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างต่าง ๆ เช่น

  1. โครงการอาคารพักอาศัยรวม Chateau Dale Pattaya
  2. อาคาร 8 – 14 ชั้น จำนวน 7 อาคาร
  3. โครงการอาคารพักอาศัย อาคาร 33 ชั้น ใกล้โรงพยาบาลวิภาวดี
  4. อาคารโรงงานและอาคารพักอาศัยหลากหลายโครงการ
  5. งานโครงสร้างใต้ดิน เข็มพืด
  6. โครงสร้างของบ่อพักสำหรับงานดันท่อลอด (Caisson shaft for pipe jacking work) ของโครงการสร้างบ่อบำบัดน้ำเสียกรุงเทพ ฯ ขั้นที่ 4 และโครงการสร้างบ่อบำบัดน้ำเสีย เทศบาลนครเชียงใหม่ ขั้นที่ 2
  7. โครงการเดินท่อร้อยสายไฟฟ้าใต้ดิน (Pipe jacking and Horizontal Directional Drilling) ของการไฟฟ้านครหลวง
  8. การประยุกต์หลักการของการจมบ่อ (Sink Cassion Method) ในการก่อสร้างโครงสร้างใต้ดินของโรงงานอุตสาหกรรม
  9. ออกแบบ Pedestrian Bridge (Concrete-Steel composite box girder and plate girder package) ที่มีช่วงกลางถึง 36 เมตร ให้กับ บจก.ปัญญาคอนซัลแตนท์ เสนอต่อกรมทางหลวง ฯ

ประสบการณ์ทำงานด้านวิชาการการสอน
พ.ศ.2543-ปัจจุบัน
อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม

ประวัติการศึกษา
ปริญญาเอก
ปรด.(การจัดการ) มหาวิทยาลัยสยาม 2551 Ph.D. (Management) Siam University 2008

ปริญญาโท
M.C.M (Construction Management) University of New South Wales 1998

ปริญญาตรี
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) (เกียรตินิยมอันดับ 2) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 2535
B.Eng. (Civil Engineering) (2nd Honor) King Mongkut’s Institute of Technology Thonburi 1992

อาชีวศึกษา
ปวช. และ ปวส. โรงเรียนช่างก่อสร้าง วิทยาเขตอุเทนถวาย

ผลงานทางวิชาการ

  • Wongvanichtawee, C. (2001) Cost Control During Design Stage in Construction Project (Cost Planning), Engineering Journal of Siam University, Vol.3
  • Wongvanichtawee, C. (2001) The Nature of Organizing in Construction Industry: One of The Barriers to Total Quality Management (TQM) Success, Engineering Journal of Siam University, Vol.4
  • Wongvanichtawee, C. (2002) The Risk Management in Construction Projects by Using Influence Diagram and Delphi Method, Engineering Journal of Siam University, Vol.5
  • Wongvanichtawee, C. (2002) Can Partnering Concept be Applied in Asian (Thai) Construction Environment?, Engineering Journal of Siam University, Vol.6
  • Wongvanichtawee, C. (2003) Trenchless Technology: Environmentally Friendly Techniques, Engineering Journal of Siam University, Vol.7
  • Wongvanichtawee, C. (2003) Simplified Calculation of Jacking Force Stability and Resistance for Pipe Jacking Work, Engineering Journal of Siam University, Vol.8
  • Wongvanichtawee, C. (2004) Rapid Structural Analysis for Rectangular Shaft, Engineering Journal of Siam University, Vol.9
  • Wongvanichtawee, C. (2005) Time Management Process in Construction Industry: Current and Future, Engineering Journal of Siam University, Vol.10
  • Rathavoot Ruthankoon and Chalermkiat Wongvanichtawee (2008), Barriers of ICT Implementation in Construction: Experience from Thai Construction Industry,
  • Proceedings on ICT and Knowledge Management, 6th International Conference on ICT and Higher Education, Siam University Bangkok Thailand Dec. 3-4, 2008.
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี (2547), การวิเคราะห์เชิงเศรษฐศาสตร์ของการเลือกใช้ท่อเอชดีพีอี. ที่ติดตั้งด้วยวิธีการเจาะแบบควบคุมทิศทาง, CEM10, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 9, โรงแรมรีเจ้นท์ ชะอำ เพชรบุรี, 19-21 พฤษภาคม 2547 (งานวิจัย ฯ)
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี (2547), การวิเคราะห์หาอายุการใช้งานที่เหมาะสมสำหรับทรัพย์สินโดยใช้ไมโครซอฟต์เอ็กเซล,โยธาสาร วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ปีที่ 16 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2547.
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี (2548), การคำนวณหาความเสถียรภาพและความต้านทานของบ่อพักจากแรงดันท่อสำหรับการติดตั้งท่อโดยวิธีดันท่อลอด, GTEP-4, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 10,โรงแรมแอมบาสเดอร์ซิตี้ จอมเทียน ชลบุรี, 2-4 พฤษภาคม 2548.
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี (2548), วิศวกรรมคุณค่ากับวัฏจักรของโครงการก่อสร้าง, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, เล่มที่ 11
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี (2549), การวิเคราะห์การเลือกใช้ท่อเอชดีพีอี. ที่ติดตั้งโดยวิธีการเจาะแบบควบคุมทิศทาง, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, เล่มที่ 12 (งานวิจัย ฯ)
  • พต.ประพัฒน์ อุทโยภาศ, ประยุทธ พันธุลาภ และเฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี (2549), ฐานข้อมูลระบบสารสนเทศภูมิ (GIS) สำหรับคุณสมบัติของชั้นดินเพื่อการก่อสร้าง, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, เล่มที่ 12 (งานวิจัย ฯ)
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี และเชลงพจน์ หลาบหนองแสง (2549), ปัญหาของการติดตั้งบ่อพักกลมของงานก่อสร้างบ่อพักและท่อร้อยสายไฟฟ้าใต้ดินของการไฟฟ้านครหลวงสำหรับโครงการสยามพารากอน, GTE-036 การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 11, เมอร์ลิน บีช รีสอร์ท ป่าตอง ภูเก็ต, 20-22 เมษายน 2549.
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี และเชลงพจน์ หลาบหนองแสง(2550), การใช้วิศวกรรมคุณค่าในการเลือกใช้เทคนิคการก่อสร้างปล่องใต้ดินเพื่อติดตั้งเครื่องจักร, CEM-047, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 12, โรงแรมอมรินทร์ลากูน พิษณุโลก, 2-4 พฤษภาคม 2550.
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี (2550), เทคนิคการจมปล่องใต้ดินลึกเพื่อติดตั้งเครื่องจักร, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, เล่มที่ 14
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี (2550), เทคนิคการจมปล่องใต้ดินขนาดใหญ่เพื่อติดตั้งเครื่องจักร, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, เล่มที่ 15
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี (2551), การประยุกต์ใช้ตารางคำนวณในการประเมินผลงานโครงการโดยวิธีวิเคราะห์คุณค่าที่ได้รับ, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, เล่มที่ 16 (งานวิจัย ฯ)
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี (2551), การอุปมาอุปมัยเพื่อการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของผู้รับเหมาก่อสร้าง, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, เล่มที่ 17
  • พต.ประพัฒน์ อุทโยภาศ, ผศ. เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี และ ประยุทธ พันธุลาภ (2551), สารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับข้อมูลการเจาะสำรวจดินเพื่อการก่อสร้าง, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 13, โรงแรมปาล์มบีช พัทยา ชลบุรี, 14-17 พฤษภาคม 2551 (งานวิจัย ฯ)
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี และเชลงพจน์ หลาบหนองแสง (2551), ประสบการณ์การก่อสร้างบ่อใต้ดินขนาดใหญ่โดยวิธีจมบ่อ, CEM004, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 13, โรงแรมปาล์มบีช พัทยา ชลบุรี, 14-17 พฤษภาคม 2551.
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี และเชลงพจน์ หลาบหนองแสง (2551), ประสบการณ์การก่อสร้างบ่อใต้ดินขนาดใหญ่โดยวิธีการจมบ่อ, GEN41, การสัมมนาวิชาการเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีวัสดุก่อสร้าง สิ่งแวดล้อมและการอนุรักษ์พลังงาน แนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ครั้งที่ 2, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี, 28-30 กรกฎาคม 2551.
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี (2552), กรอบแนวคิดและตัวแบบบูรณาการความสามารถในการแข่งขันของผู้รับเหมาก่อสร้างเฉพาะส่วนการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก),สยามวิชาการ, คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสยาม (1/2552) (งานวิจัย ฯ)
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี (2552), ตัวแบบความสามารถในการแข่งขันของวิสาหกิจขนาดกลางในอุตสาหกรรมก่อสร้าง, การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 12 (The National Graduate Research Conference), มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 12-13 กุมภาพันธ์ 2552 (งานวิจัย ฯ)
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี (2552), ตัวแบบบูรณาการความสามารถในการแข่งขันของผู้รับเหมาก่อสร้างขนาดกลาง, CEM50473, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 14, สุรสัมมนาคาร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, 13-15 พฤษภาคม 2552 (งานวิจัย ฯ)
  • เฉลิมเกียรติ วงศ์วนิชทวี (2552), ตัวแบบบูรณาการเพื่อการวิเคราะห์ความสามารถในการแข่งขันของผู้รับเหมาก่อสร้าง, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม, เล่มที่ 18 (งานวิจัย ฯ)