นโยบายหลัก

นโยบายหลัก

ปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจและสังคมของโลกมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ซึ่งมีผลกระทบกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยด้วยโดยตรง เพราะฉะนั้นก่อนการวางนโยบายพัฒนาคณะวิศวกรรมศาสตร์จึงต้องศึกษาปัจจัยของการวางกรอบนโยบายก่อน โดยพบว่าปัจจัยภายนอกอันดับแรกที่มีผลกระทบอย่างชัดเจนก็คือ สมาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN) ที่มีสมาชิก 10 ประเทศ กำลังรวมกลุ่มกันกลายเป็นชุมชนอาเซียนในปี พ.ศ. 2558 (ค.ศ. 2015) ภายใต้นโยบาย ASEAN Open Sky จะส่งผลให้การหางานทำของบัณฑิตที่จบใหม่นั้นสามารถทำได้หลายประเทศที่เป็นสมาชิกได้ง่ายขึ้น เพราะไม่ต้องขอใบอนุญาตการทำงาน ในประเด็นนี้ทำให้โอกาสในการหางานของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษากว้างมากขึ้นเพราะจากผลการสำรวจแรงงานที่ขาดแคลนในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียนพบว่าแรงงานด้านวิชาชีพทางเทคนิคทั้งหมดยังขาดแคลนเป็นจำนวนมาก และวิชาที่ใช้ในการเรียนการสอนทางวิศวกรรมศาสตร์ก็เป็นสากลอยู่แล้ว ดังนั้นจึงเป็นโอกาสให้ทางคณะวิศวกรรมศาสตร์พัฒนาหลักสูตรเพื่อเตรียมความพร้อมของบัณฑิตให้สามารถทำงานได้ทุกแห่งทั่วโลก และเพื่อเปิดโอกาสให้การพัฒนาหลักสูตรเป็นไปได้จริง คณะฯจะต้องแสวงหาความร่วมมือในรูปแบบบูรณาการกับภาคอุตสาหกรรมให้มากขึ้น โดยการแสวงหากลุ่มอุตสาหกรรมที่สนใจในการร่วมจัดทำโครงการพัฒนาบุคลากร เพื่อเป็นการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของบุคลากร และบัณฑิต และโครงการศึกษากลุ่มอุตสาหกรรมเพื่อเพิ่มความเข้าใจในความต้องการของอุตสาหกรรมที่มีต่อบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา รวมถึงเพิ่มประสบการณ์ของคณาจารย์และนักศึกษาทั้งด้านการเรียนการสอน การวิจัย และการพัฒนา คณะฯได้เพิ่มโครงการที่จะให้การบริการวิชาการแก่สังคม รวมถึงพัฒนาฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น และศิลปวัฒนธรรม เพื่อเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมอีกด้วย

วัตถุประสงค์

  1. พัฒนาหลักสูตรผลิตวิศวกรที่สามารถทำงานได้ทั่วโลก บัณฑิตของคณะฯจะต้องสามารถทำงานร่วมกับคนที่มีวัฒนธรรมแตกต่างกันได้ และจะต้องเรียนรู้ภาษาอังกฤษให้สามารถใช้งานทางวิศวกรรมได้ โดยจะเปิดโอกาสให้นักศึกษาต่างชาติเข้ามาร่วมด้วย เพื่อที่จะได้ทำการฝึกฝนภาษาและเรียนรู้วัฒนธรรมร่วมกัน
  2. พัฒนาบุคลากรของคณฯ ให้มีความสามารถในระดับผู้เชี่ยวชาญในวิชาที่สอน และพัฒนาการใช้ภาษาอังกฤษ รวมถึงการใช้สื่อการสอนภาษาอังกฤษ ทำให้สามารถบรรยายเป็นภาษาอังกฤษแก่นักศึกษาได้
  3. แสวงหาความร่วมมือในรูปแบบบูรณาการกับภาคอุตสาหกรรมให้มากขึ้น โดยการแสวงหากลุ่มอุตสาหกรรมที่สนใจในโครงการร่วมพัฒนาบุคลากร เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้และเทคโนโลยี เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถของบุคลากร และบัณฑิต และเพื่อเพิ่มความเข้าใจในความต้องการของอุตสาหกรรมที่มีต่อบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษา
  4. พัฒนาฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น และศิลปวัฒนธรรม เพื่อเรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของชาติ โดยวิเคราะห์ในประเด็นที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรม

โครงงานนักศึกษา

โครงงานวิจัยและพัฒนาทางด้านวิศวกรรมของนักศึกษา เพื่อฝึกให้นักศึกษาคุ้นเคยกับการค้นคว้า การออกแบบ สร้างอุปกรณ์ หรือระบบ พร้อมทั้งทดสอบ รวมถึงการแก้ปัญหาทางวิศวกรรม ภายใต้การควบคุมของอาจารย์ที่ปรึกษา

สาขาวิศวกรรมเครื่องกล

ชื่อโครงงาน รหัสโครงงาน ดาวน์โหลด
     
     
     
     
     

สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า

ชื่อโครงงาน รหัสโครงงาน ดาวน์โหลด
     
     
     
     
     

SiamRobotics  link มาที่ http://robotics.siam.edu

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ของคณาจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมยานยนต์

  • การประดิษฐ์เครื่องยนต์สเตอร์ลิงชนิดอัลฟ่า Click

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ของคณาจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา

  • Experience on Large Underground Pit Construction By Using Singking Caisson Method Click
  • การศึกษาเทคนิคและวิธีการซ่อมแซมโครงสร้างในโรงงาน Click
  • การศึกษาการต้านทานการกัดกร่อนต่อกรดของบล๊อกปูนถนนผสมเถ้าหนักตะกรันลิกไนต์ Click

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ของคณาจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

  • การเพิ่มประสิทธิภาพในการส่งข้อมูลระหว่างรถยนต์โดยคำนึงถึงระยะทางและความเร็ว Click

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ของคณาจารย์ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล

  • Effect of The Secondary Chamber on Rice Husk Combustion in A Swirl Combustor Click
  • การคำนวณการถ่ายเทความร้อนผ่านครีบแผ่นกลมด้วยวิธีไฟไนต์รีซิสแทนซ์กรณีปลายครีบมีการถ่ายเทความร้อน Click
  • การคำนวณอุณหภูมิและอัตราการถ่ายเทความเทความร้อนของไหลภายในท่อที่มีอุณหภูมิผนังเท่ากันหมดด้วยวิธีไฟไนต์รีซิสแทนซ์ Click
  • การคำนวณอุณหภูมิและอัตราการถ่ายเทความร้อนของไหลภายในท่อที่มีอุณหภูมิผนังเท่ากันหมดด้วยวิธีไฟไนต์รีซิสแทนซ์ Click
  • การวิเคราะห์พารามิเตอร์ที่มีผลต่อการเผาไหม้แกลบในเตาเผาฟลูอิดไดซ์เบด Click
  • การใช้ตัวควบคุมกระแสสำหรับคำนวณอุณหภูมิแผงรับแสงอาทิตย์ในโครงข่ายความร้อน Click
  • การคำนวณอุณหภูมิและอัตราการถ่ายเทความร้อนสำหรับตัวแลกเปลี่ยนความร้อนแบบไหลสวนทางด้วยวิธีไฟไนต์รีซิสแทนซ์ Click

งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ของคณาจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า

  • Analysis and Modellling of an Ozone Generator Using a Phase-Shift PWM Full Bridge Inverter Click
  • Analysis of Two Continuous Control Regions of Conventional Phase Shift and Transition Phase Shift for Induction Heating Inverter Under Click
  • Application of Symbolic and Optimization Toolboxes in Static Voltage Stability Click
  • Design and Construction of a Three Phase of Self-Exited Induction Generator Click
  • High Input Impedance Voltage-Mode Three-Input Single-Output Multifunction Filter Based on Simple CMOS OTAs Click
  • Investigation on the Performance between Standard and High Efficiency Induction Machines operating as Grid Connected Induction Generators Click
  • Low-component-count current-mode Universal Filter based on active-only Lossy and Lossless Integrators Click
  • Practical Load Direction in Static Voltage Stability Study Click
  • เครื่องกำเนิดสัญญาณควบคุมโดยไมโครคอนโทรลเลอร์ Click
  • เครื่องควบคุมการผสมและกำหนดปริมาณสีโดยไมโครคอนโทรลเลอร์ Click
  • การควบคุมกำลังไฟฟ้าของเรโซแนนท์อินเวอร์เตอร์เต็มบริคจ์ด้วยจำนวนพัลส์ PDM สำหรับงานให้ความร้อนด้วยการเหนี่ยวนำความถี่สูง Click
  • การสร้างและทดสอบเครื่องให้ความร้อนแห่งเหล็กโดยใช้วิธีการเหนี่ยวนำทางแม่เหล็กไฟฟ้า Click
  • การออกแบบวงจรขยายกระแสที่สามารถปรับค่าได้ทางอิเล็กทรอนิกส์ Click
  • ตัวควบคุมพีไอดี พีไอและพีดีโดยใช้วงจรสายพานกระแสรุ่นที่สองที่ถูกควบคุมด้วยกระแส Click
  • วงจรกรองความถี่ไบควอตรูปบบกระแสที่ใช้โอทีเอซีด้วยโครงสร้างของดิฟเฟอเรสชิเอเตอร์ Click
  • วงจรกรองความถี่รูปแบบกระแสหลายอินพุตหนึ่งเอาต์พุตปรับค่าได้ทางอิเล็กทรอนิกส์ Click
  • วงจรตรวจจับค่าสูงสุดและต่ำสุดหลายอินพุตรูปแบบกระแสชนิดโปรแกรมได้โดยใช้ซีมอส Click