อาจารย์ รัตนะ เลหวนิช

อาจารย์ รัตนะ เลหวนิช
Lecturer Rattana Lehavanich
E-Mail Address: sku118@hotmail.com

 

  1. ประวัติการศึกษา

1.1 วุฒิการศึกษา

 

ระดับปริญญา ชื่อปริญญา สาขาวิชา สถาบันการศึกษา

วัน/เดือน/ปี

ที่จบ

ปริญญาโท วิศวกรรมศาสตร

มหาบัณฑิต (วศ.ม.)

วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 28 มิถุนายน2550
ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตร

บัณฑิต (วศ.บ.)

วิศวกรรมเครื่องกล มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 6 มีนาคม  2547

 

        1.2 หัวข้อวิทยานิพนธ์

 

ปริญญาโท:   “Design and Testing of a Downdraft Gasifier for Fertilizer Drying Process”

        1.3 ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคม

ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม  สาขาเครื่องกล ระดับภาคีวิศวกร

 

 

 

 

  1. ประสบการณ์การทำงาน

พ.ศ. 2565 – ปัจจุบัน          เป็นอาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยสยาม

พ.ศ. 2556 – 2565            เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านข้อกำหนดและมาตรฐานยานยนต์

บริษัท บีเอ็มดับเบิลยู (ประเทศไทย) จำกัด

พ.ศ. 2555 – 2556            เป็นผู้ประสานงานด้านข้อกำหนดและมาตรฐานยานยนต์

บริษัท บีเอ็มดับเบิลยู (ประเทศไทย) จำกัด

พ.ศ. 2551 – 2555            เป็นวิศวกรออกแบบที่บริษัท อีซูซุ เทคนิคอลเซ็นเตอร์ เอเชีย จำกัด

 

  1. ความเชี่ยวชาญ

(1) การออกแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ CAD, CAM

(2) ข้อกำหนดและมาตรฐานยานยนต์

 

  1. ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์
  2. รัตนะ เลหวนิช และ วิชัย ศิวะโกศิษฐ. (2550). การปรับปรุงการใช้เชื้อเพลิงในโรงงานผลิตปุ๋ยขนสดเล็กด้วย Downdraft gasifier. ในการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 45 (หน้า 30 – 36). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วันที่ 30 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2550
  3. ทวีเดช ศิริธนาพิพัฒน์, กิจจา กิรสมุทรานนท์ และ รัตนะ เลหวนิช. (2549). การศึกษาเชิงทดลองสำหรับการลดความชื้นในถ่านอัดจากฝุ่นผงถ่านหิน. ในการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 44 (หน้า 257 – 265). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วันที่ 30 มกราคม – 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549

บันทึกความร่วมกับทางวิชาการ ร่วมกับ สมาคมสมองกลฝังตัวของไทย (TESA)

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ร่วมกับ สมาคมสมองกลฝังตัวของไทย (TESA) ลงนามบันทึกความร่วมมือทางวิชาการ เพื่อพัฒนาหลักสูตร อสบ.วิศวกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ พร้อมทั้งความร่วมมือด้านบริการวิชาการ เป็นต้น ในวันที่ 27 พฤษภาคม 2567

 

ประวัติ-คณะวิศวกรรมศาสตร์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จัดตั้งและเริ่มดำเนินการจัดการเรียนการสอน ในระดับปริญญาตรี ตั้งแต่ปีการศึกษา 2529 ถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นเวลากว่า 22 ปี สรุปเหตุการณ์ ที่สำคัญเกี่ยวกับการเรียนการสอนได้ดังนี้

  • พ.ศ. 2529 ภาควิศวกรรมเครื่องกลเริ่มเปิดดำเนินการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี หลักสูตรวิศวกรรมเครื่องกล หลักสูตร 4 ปี (วศ.บ.) เป็นสถาบันเอกชนแห่งแรกที่เปิดสอนในหลักสูตรนี้
  • พ.ศ. 2530 ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า เริ่มเปิดดำเนินการเรียนการสอนระดับปริญญาตรี หลักสูตรอุสาหกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
  • พ.ศ. 2535 ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ เริ่มเปิดดำเนินการเรียนการสอน หลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตร 4 ปี
  • ภาควิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ เริ่มเปิดดำเนินการเรียนการสอน หลักสูตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หลักสูตร 2 ปี
  • พ.ศ. 2536 ภาควิชาวิศวกรรมโยธา เริ่มเปิดดำเนินการเรียนการสอน หลักสูตรวิศวกรรมโยธา หลักสูตร 4 ปี
  • ปีการศึกษา 2541 ตั้งศูนย์เทคโนโลยีวิศวกรรมเพื่อตอบสนองและรองรับงานด้านการวิจัยและการบริการวิชาการให้กับหน่วยงานและภาคอุตสาหกรรม
  • ปีการศึกษา 2543 จัดตั้งห้องวิจัยและปฏิบัติวิศวกรรมหุ่นยนต์ ที่อาคารปฏิบัติการปฏิบัติการวิศกรรมเครื่องกล (SHOP)
  • ปีการศึกษา 2544 จัดตั้งภาควิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
  • พ.ศ. 2548 ภาควิชาวิศวกรรมยานยนต์ เริ่มเปิดดำเนินการเรียนการสอน หลักสูตรวิศวกรรมยานยนต์ หลักสูตร 4 ปี และหลักสูตรเทคโนโลยียานยนต์ หลักสูตร 2 ปี
  • พ.ศ. 2549 จัดตั้งวิศวกรรมการพิมพ์เริ่มเปิดดำเนินการเรียนการสอนหลักสูตรเทคโนโลยีการพิมพ์ หลักสูตร 2 ปี ในปีการศึกษา 2550
  • พ.ศ. 2553 ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ เริ่มเปิดดำเนินการเรียนการสอนหลักสูตรวิศวกรรมอุตสาหการ